Friday, September 5, 2014





SUBJECT:              วิทยาศาสตร์
GRADE:                 ประถมศึกษาปีที่ 5
TEACHER:             นางสาวมาศฤดี  พูลเพิ่ม
TERM X / WK 00X / 00 HR(S) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 สัปดาห์ที่ 7 ระหว่างวันที่ 30 มิ.ย. – 4 ก.ค.

GENERAL TOPIC (สาระสำคัญ)
*การปฏิสนธิของพืช
 - ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความหมายและลำดับขั้นของการปฏิสนธิของพืช

EDUCATIONAL STANDARD (มาตรฐาน):
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต

PERFORMANCE INDICATOR(S) (ตัวชี้วัด):
มฐ.ว 1.1 ป.5/2 อธิบายการสืบพันธุ์ของพืชดอก การขยายพันธุ์พืช และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

OBJECTIVES (จุดประสงค์การเรียนรู้):
1. บอกความหมายและลำดับขั้นของการปฏิสนธิของพืชได้ (K)
2. ทำกิจกรรมเพื่อศึกษาความหมายและขั้นตอนในการปฏิสนธิของพืชได้(P)
3. เป็นคนช่างสังเกต  ช่างคิดช่างสงสัย  และเป็นผู้ที่มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาความรู้ (A)

LESSON CONTENT (สาระการเรียนรู้):
 
การปฏิสนธิ  หมายถึง  การที่เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ผสมกับเซลล์สืบพันธุ์ของเพศเมีย 
ขั้นตอนการปฏิสนธิของพืช มีดังนี้
1. ละอองเรณูตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย
2. ละอองเรณูจะงอกหลอดแทงลงไปในก้านชูเกสรเพศเมียไปจนถึงไข่ (ออวุล)
3. เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ที่อยู่ในหลอดจะเข้าผสมกับเซลล์ไข่ภายในรังไข่

 ACTIVITIES (กิจกรรม):
1.นำเข้าสู่บทเรียนโดยการถามเรื่อง การปฏิสนธิหมายถึงอะไร  โดยการทบทวนความรู้
2. ครูถามคำถาม การปฏิสนธิของพืชดอกมีขั้นตอนอย่างไร 
3.ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียน โดยให้นักเรียนตอบคำถามลงในกระดาษที่ครูกำหนด ดังนี้
    - ความหมายของการปฏิสนธิคืออะไร
4.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับความหมาย และขั้นตอนของการปฏิสนธิของพืช
5.ทำแบบฝึกหัด เรื่อง การปฏิสนธิของพืช
    -ทำแบบฝึกหัดในหนังสือ
    -ทำแบบฝึกหัดในใบงาน 1.การสืบพันธุ์ของพืช 2.การขยายพันธุ์ของพืช 3. ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
    -วาดแผนภาพส่วนประกอบของดอก (การบ้านในสมุด)
RESOURCES & MATERIALS (สื่อและอุปกรณ์):
 
-แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน (ดอกบัว ดอกชบา ดอกเข็ม ดอกกุหลาบ)
- กระดาษ(ใช้วาดภาพส่วนประกอบของดอก)
-ใบงาน
    -การสืบพันธุ์ของพืช
    -การขยายพันธุ์ของพืช
    -ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ASSESSMENT (การวัดและประมินผล):
 
1. ให้นักเรียนเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียน  ในประเด็นต่อไปนี้
    -สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร
    -นักเรียนเข้าใจเรื่องใดมากที่สุด      
2. ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนดังนี้ 
     -สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทำงาน
    -สังเกตการตอบคำถามของนักเรียนในชั้นเรียน 
NOTES:

...............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................
                                                                                                                               ลงชื่อ.......................................................ผู้สอน
                                                                                                                                             ( นางสาวมาศฤดี     พูลเพิ่ม)
ข้อเสนอแนะ :

......................................................................................................................................

......................................................................................................................................
                                                                                                                              ลงชื่อ......................................................

                                                                                                                                    (นางสาวกัญฐณัฎ      ฉลอง)

                                                                                                                           ผู้อำนวยการโรงเรียนบางพลีพัฒนศึกษาลัย

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์



เด็กดูวิดิโอ เรื่องระบบสุริยะ


ใบงาน เรื่องระบบสุริยะ


กิจกรรมเยี่ยมบ้านเด็กนักเรียน








กิจกรรมวันไหว้ครู


ประวัติส่วนตัว

ชื่อ                 นางสาวมาศฤดี  พูลเพิ่ม
ชื่อเล่น           ครูตั๊ก    อายุ 28 ปี
วันเกิด            25 กุมภาพันธ์  2529
ที่ทำงาน        โรงเรียนบางพลีพัฒนศึกษาลัย
ที่ตั้งโรงเรียน  60/3 หมู่ 7 ตำบลบางโฉลง อำเภอบางพลี  จังหวัดสมุทรปราการ
การศึกษา       วทบ.เอกชีววิทยา มหาวิทยาลัยบูรพา
สอนวิชา         วิทยาศาตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-5



แผนการสอน



SUBJECT:              วิทยาศาสตร์
GRADE:                 ประถมศึกษาปีที่ 5
TEACHER:             นางสาวมาศฤดี  พูลเพิ่ม
TERM X / WK 00X / 00 HR(S) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 สัปดาห์ที่ 8  

GENERAL TOPIC (สาระสำคัญ):
      ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัสดุที่นำความร้อนและไม่นำความร้อน
EDUCATIONAL STANDARD (มาตรฐาน):
      มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้  และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
PERFORMANCE INDICATOR(S) (ตัวชี้วัด):
      มฐ.3.1 ป.5/1 ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิดต่างๆ เกี่ยวกับความยืดหยุ่น 
         ความแข็ง  ความเหนียว การนำความร้อน  การนำไฟฟ้า และความหนาแน่น      
      มฐ.3.1 ป.5/2 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการนำวัสดุไปใช้ในชีวิตประจำวัน
OBJECTIVES (จุดประสงค์การเรียนรู้):
1. ยกตัวอย่างวัสดุที่นำความร้อนและไม่นำความร้อนได้ (K)
2. สืบค้นและนำเสนอประโยชน์ของการนำความร้อนของวัสดุได้(P)
3. เป็นคนช่างสังเกต  ช่างคิดช่างสงสัย  และเป็นผู้ที่มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาความรู้ (A)
LESSON CONTENT (สาระการเรียนรู้):
       -วัสดุที่นำความร้อนได้ดี    เช่น โลหะต่างๆ นำมาทำเครื่องมือ เครื่องใช้ ภาชนะหุงต้ม
        -วัสดุที่เป็นฉนวนความร้อน คือ   วัสดุที่ไม่สามารถนำความร้อนได้ เช่น ยาง  พลาสติก    
        สามารถนำมาผลิตหูหม้อ หรือ ที่จับทัพพีได้
ACTIVITIES (กิจกรรม):
1.นำเข้าสู่บทเรียนโดยการถามความรู้เรื่องสมบัติของวัสดุ ในด้านการนำความร้อนของวัสดุ โดยครูถามคำถาม \
   กระตุ้นความคิดนักเรียน
2. ครูถามคำถาม วัสดุที่นำความร้อนได้แก่อะไรบ้าง และมีประโยชน์อย่างไร
3.ครูให้นักเรียนหาภาพวัสดุชนิดต่าง ๆ จากนิตยสาร สื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ
   -จำแนกประเภทของวัสดุที่นำความร้อนและวัสดุที่ไม่นำความร้อน วาดภาพลงในสมุด
4.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้
   -วัสดุที่นำความร้อนได้ดี เช่น โลหะต่างๆ นำมาทำเครื่องมือ เครื่องใช้ ภาชนะหุงต้ม
   -วัสดุที่เป็นฉนวนความร้อน คือ วัสดุที่ไม่สามารถนำความร้อนได้ เช่น ยาง  พลาสติก  
    สามารถนำมาผลิตหูหม้อ หรือ ที่จับทัพพีได้
5.ครูตั้งคำถามว่า นักเรียนจะนำความรู้เรื่องวัสดุที่นำความร้อนและไม่นำความร้อน
   ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร
6.ทำแบบฝึกหัด เรื่อง วัสดุที่นำความร้อนและไม่นำความร้อน
   -ทำแบบฝึกหัดในหนังสือ
   -ทำแบบฝึกหัดในใบงาน เรื่องการแยกประเภทวัสดุที่นำความร้อนและไม่นำความร้อน
RESOURCES & MATERIALS (สื่อและอุปกรณ์):
*แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน (หม้อ  ทัพพี ช้อน สายยางรดน้ำต้นไม้)
*กระดาษ(ใช้วาดภาพประเภทของวัสดุที่นำความร้อนและวัสดุที่ไม่นำความร้อน)
*ภาพวัสดุชนิดต่าง ๆ จากนิตยสาร สื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ
     -วาดรูปลงในสมุด
*ใบงาน
    -แยกประเภทของวัสดุที่นำความร้อนและวัสดุที่ไม่นำความร้อน   
*หนังสือเรียน (ทำแบบฝึกหัด)
ASSESSMENT (การวัดและประเมินผล):
1. ให้นักเรียนเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียน  ในประเด็นต่อไปนี้
    -สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร
    -นักเรียนเข้าใจเรื่องใดมากที่สุด      
2. ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนดังนี้ 
     -สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทำงาน
    -สังเกตการตอบคำถามของนักเรียนในชั้นเรียน 

NOTES:

...............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................
                                                                                                                                ลงชื่อ.......................................................ผู้สอน
                                                                                                                                          ( นางสาวมาศฤดี     พูลเพิ่ม)
ข้อเสนอแนะ :

......................................................................................................................................
......................................................................................................................................

                                                                                                                              ลงชื่อ......................................................

                                                                                                                                    (นางสาวกัญฐณัฎ      ฉลอง)

                                                                                                                           ผู้อำนวยการโรงเรียนบางพลีพัฒนศึกษาลัย




SUBJECT:              วิทยาศาสตร์
GRADE:                 ประถมศึกษาปีที่ 5
TEACHER:             นางสาวมาศฤดี  พูลเพิ่ม
TERM X / WK 00X / 00 HR(S) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 สัปดาห์ที่ 8 
GENERAL TOPIC (สาระสำคัญ):
      ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมบัติของวัสดุในด้านการนำไฟฟ้าของวัสดุและการใช้ประโยชน์ 
EDUCATIONAL STANDARD (มาตรฐาน):
      มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้  และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
PERFORMANCE INDICATOR(S) (ตัวชี้วัด):
      มฐ.3.1 ป.5/1 ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิดต่างๆ เกี่ยวกับความยืดหยุ่น 
               ความแข็ง  ความเหนียว การนำความร้อน  การนำไฟฟ้า และความหนาแน่น      
      มฐ.3.1 ป.5/2 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการนำวัสดุไปใช้ในชีวิตประจำวัน

OBJECTIVES (จุดประสงค์การเรียนรู้):
1. ระบุการนำไฟฟ้าเป็นสมบัติของวัสดุได้ (K)
2. อธิบายว่าวัสดุต่างชนิดกันสามารถนำไฟฟ้าได้แตกต่างกันได้ (K)
3. ทดลองและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการนำไฟฟ้าของวัสดุชนิดต่างๆได้ (P)
4. เป็นคนช่างสังเกต  ช่างคิดช่างสงสัย  และเป็นผู้ที่มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาความรู้ (A)
LESSON CONTENT (สาระการเรียนรู้):
       การนำไฟฟ้าของวัสดุ  หมายถึง  ความสามารถของวัสดุที่ยอมให้พลังงานไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านวัสดุนี้ได้ เช่น  โลหะ
ACTIVITIES (กิจกรรม):
1.ครูถามคำถามกระตุ้นความคิดของนักเรียนเรื่องการนำไฟฟ้าของวัสดุ  ดังนี้
   -การนำไฟฟ้าหมายความว่าอย่างไร 
   -วัสดุแต่ละชนิดนำไฟฟ้าเหมือนกันหรือไม่ อย่างไร
  1.1 ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม  กลุ่มละ 5 คน  ศึกษาวิธีการนำไฟฟ้าของวัสดุและทำแบบฝึกในใบงา
  1.2 ครูให้ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่ม  นำเสนอผลการทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน
  1.3ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการทำกิจกรรม  จากนั้นครูถามคำถามหลังทำกิจกรรม
2. ครูให้นักเรียนวาดภาพแสดงการนำไฟฟ้าของวัสดุต่างๆ
3.นักเรียนวิเคราะห์และอธิบายว่าวัสดุต่างชนิดกันสามารถนำไฟฟ้าได้แตกต่างกันได้
4. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้
5.ครูตั้งคำถามให้นักเรียนตอบว่า นักเรียนจะนำความรู้เรื่องวัสดุต่างชนิดกันสามารถนำไฟฟ้าได้
   แตกต่างกันไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร
6.ทำแบบฝึกหัด เรื่อง การนำไฟฟ้าของวัสดุ
   -ทำแบบฝึกหัดในหนังสือ  - ทำใบงาน เรื่องการนำไฟฟ้าของวัสดุ

RESOURCES & MATERIALS (สื่อและอุปกรณ์):
*ชุดวงจรไฟฟ้า (กระบะถ่าน ถ่านไฟฉาย สายไฟ หลอดไฟฟ้า สวิตช์) 1 ชุด





                                          การทดลอง การนำไฟฟ้าของวัสดุ
*วัสดุชนิดต่างๆ ที่ต้องการนำมาทดสอบ ได้แก่ ไม้เสียบลูกชิ้น ลวดเสียบกระดาษ ผ้าเช็ดหน้า
  ตะปู ไม้บรรทัด พลาสติก และยางลบ
*ใบงานเรื่อง การนำไฟฟ้าของวัสดุ
*หนังสือเรียน (ทำแบบฝึกหัด)
ASSESSMENT (การวัดและประเมินผล):
1. ให้นักเรียนเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียน  ในประเด็นต่อไปนี้
    -สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร
    -นักเรียนเข้าใจเรื่องใดมากที่สุด      
2. ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนดังนี้ 
     -สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทำงาน
    -สังเกตการตอบคำถามของนักเรียนในชั้นเรียน 

NOTES:


...............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................
                                                                                                                                 ลงชื่อ.......................................................ผู้สอน
                                                                                                                                          ( นางสาวมาศฤดี     พูลเพิ่ม)
ข้อเสนอแนะ :

......................................................................................................................................

......................................................................................................................................

                                                                                                                              ลงชื่อ......................................................

                                                                                                                                    (นางสาวกัญฐณัฎ      ฉลอง)

                                                                                                                           ผู้อำนวยการโรงเรียนบางพลีพัฒนศึกษาลัย





SUBJECT:              วิทยาศาสตร์
GRADE:                 ประถมศึกษาปีที่ 5
TEACHER:             นางสาวมาศฤดี  พูลเพิ่ม
TERM X / WK 00X / 00 HR(S) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 สัปดาห์ที่ 9 

GENERAL TOPIC (สาระสำคัญ):
     ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัสดุที่เป็นตัวนำและฉนวนไฟฟ้า
EDUCATIONAL STANDARD (มาตรฐาน):
      มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้  และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
PERFORMANCE INDICATOR(S) (ตัวชี้วัด):
      มฐ.3.1 ป.5/1 ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิดต่างๆ เกี่ยวกับความยืดหยุ่น 
               ความแข็ง  ความเหนียว การนำความร้อน  การนำไฟฟ้า และความหนาแน่น      
      มฐ.3.1 ป.5/2 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการนำวัสดุไปใช้ในชีวิตประจำวัน
OBJECTIVES (จุดประสงค์การเรียนรู้):
1. บอกความหมายและยกตัวอย่างวัสดุที่เป็นตัวนำและฉนวนไฟฟ้าได้ (K)
2. สืบค้นและนำเสนอเกี่ยวกับวัสดุที่เป็นตัวนำและฉนวนไฟฟ้าได้  (P)
3. เป็นคนช่างสังเกต  ช่างคิดช่างสงสัย  และเป็นผู้ที่มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาความรู้ (A)
LESSON CONTENT (สาระการเรียนรู้):
   ตัวนำไฟฟ้า  หมายถึง  วัสดุที่นำไฟฟ้าเมื่อนำมาต่อกับวงจรไฟฟ้า  จะทำให้วงจรไฟฟ้ามีหลอดไฟสว่างได้  เช่น  
                                       ลวดทองแดง  เหล็ก      
  ฉนวนไฟฟ้า  หมายถึง วัสดุที่ไม่นำไฟฟ้า เช่น ไม้  ยาง
ACTIVITIES (กิจกรรม):
1.ครูถามคำถามกระตุ้นความคิดของนักเรียน เรื่องวัสดุที่เป็นตัวนำไฟฟ้าและวัสดุที่เป็นฉนวนไฟฟ้า ดังนี้
   -วัสดุที่เป็นตัวนำไฟฟ้าต่างกับวัสดุที่เป็นฉนวนไฟฟ้าอย่างไร
2. ครูให้นักเรียนค้นหาภาพจากหนังสือพิมพ์เก่า  วารสาร แล้วจัดทำสมุดภาพ  โดยจำแนกประเภทของตัวนำไฟ้า
    และฉนวนไฟฟ้า
3.ให้นักเรียนวิเคราะห์และบอกความหมายและยกตัวอย่างวัสดุที่เป็นตัวนำและฉนวนไฟฟ้า
4. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้
5.ครูตั้งคำถามให้นักเรียนตอบว่า นักเรียนจะนำความรู้เรื่องวัสดุที่เป็นตัวนำและฉนวนไฟฟ้าได้
   แตกต่างกันไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร
6.ทำแบบฝึกหัด เรื่อง ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า
   - ทำแบบฝึกหัดในหนังสือ
   - ทำใบงาน เรื่องตัวนำและฉนวนไฟฟ้า
   - ทำการบ้านในสมุด (ให้วาดภาพวัสดุที่เป็นตัวนำและฉนวนไฟฟ้าภายในบ้านของนักเรียนอย่างละ 5 ภาพ)

RESOURCES & MATERIALS (สื่อและอุปกรณ์):
* แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
* หนังสือพิมพ์  วารสาร
* ใบงานเรื่อง ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า
* หนังสือเรียน (ทำแบบฝึกหัด)
ASSESSMENT (การวัดและประเมินผล):
1. ให้นักเรียนเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียน  ในประเด็นต่อไปนี้
    -สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร
    -นักเรียนเข้าใจเรื่องใดมากที่สุด      
2. ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนดังนี้ 
     -สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทำงาน
    -สังเกตการตอบคำถามของนักเรียนในชั้นเรียน 

NOTES:


...............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................
                                                                                                                                ลงชื่อ.......................................................ผู้สอน
                                                                                                                                            ( นางสาวมาศฤดี     พูลเพิ่ม)
ข้อเสนอแนะ :

......................................................................................................................................

......................................................................................................................................

                                                                                                                              ลงชื่อ......................................................

                                                                                                                                    (นางสาวกัญฐณัฎ      ฉลอง)

                                                                                                                           ผู้อำนวยการโรงเรียนบางพลีพัฒนศึกษาลัย




SUBJECT:              วิทยาศาสตร์
GRADE:                 ประถมศึกษาปีที่ 5
TEACHER:             นางสาวมาศฤดี  พูลเพิ่ม
TERM X / WK 00X / 00 HR(S) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 สัปดาห์ที่ 9 

GENERAL TOPIC (สาระสำคัญ):
      ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการนำสมบัติทางด้านการนำไฟฟ้าและไม่นำไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ประโยชน์
EDUCATIONAL STANDARD (มาตรฐาน):
      มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้  และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
PERFORMANCE INDICATOR(S) (ตัวชี้วัด):
      มฐ.3.1 ป.5/1 ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิดต่างๆ เกี่ยวกับความยืดหยุ่น 
               ความแข็ง  ความเหนียว การนำความร้อน  การนำไฟฟ้า และความหนาแน่น      
      มฐ.3.1 ป.5/2 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการนำวัสดุไปใช้ในชีวิตประจำวัน
OBJECTIVES (จุดประสงค์การเรียนรู้):
1. ยกตัวอย่างวัสดุที่นำไฟฟ้าและไม่นำไฟฟ้าได้ (K)
2. สืบค้นและนำเสนอประโยชน์ของการนำไฟฟ้าของวัสดุได้(P)
3. เป็นคนช่างสังเกต  ช่างคิดช่างสงสัย  และเป็นผู้ที่มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาความรู้ (A)
LESSON CONTENT (สาระการเรียนรู้):
   *ตัวนำไฟฟ้า  หมายถึง  วัสดุที่นำไฟฟ้าเมื่อนำมาต่อกับวงจรไฟฟ้า  จะทำให้วงจรไฟฟ้ามีหลอดไฟสว่างได้ 
     ตัวอย่างตัวนำไฟฟ้า             ลวดทองแดง  เหล็ก
     นำมาใช้ประโยชน์               สายส่งไฟฟ้า  สายไฟฟ้า
    *ฉนวนไฟฟ้า หมายถึง  วัสดุที่ไม่นำไฟฟ้า
      ตัวอย่างฉนวนไฟฟ้า           ไม้  ยาง
      นำมาใช้ประโยชน์              ที่จับปลั๊กไฟ

ACTIVITIES (กิจกรรม):
1.ครูทบทวนความรู้เรื่องสมบัติของวัสดุ ในด้านการนำไฟฟ้าของวัสดุ  ตัวนำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า ดังนี้
   - วัสดุนำไฟฟ้ากับฉนวนไฟฟ้าสามารถนำมาใช้ประโยชน์อย่างไรบ้าง 
2. ครูให้นักเรียนเขียนเรียงความ เรื่อง  ประโยชน์จากสมบัติการนำไฟฟ้าของวัสดุ เป็นการ บูรณา
    การกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
3.ให้นักเรียนวิเคราะห์และยกตัวอย่างวัสดุที่นำไฟฟ้าและไม่นำไฟฟ้า
4. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้
5.ครูตั้งคำถามให้นักเรียนตอบว่า นักเรียนจะนำความรู้เรื่องวัสดุที่นำไฟฟ้าและไม่นำไฟฟ้าได้
แตกต่างกันไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร
6.ทำแบบฝึกหัด เรื่อง สมบัติการนำไฟฟ้าและไม่นำไฟฟ้าไปใช้ในชีวิตประจำวัน
   - ทำแบบฝึกหัดในหนังสือ
   - ทำใบงาน เรื่องสมบัติการนำไฟฟ้าและไม่นำไฟฟ้าไปใช้ในชีวิตประจำวัน

RESOURCES & MATERIALS (สื่อและอุปกรณ์):
* แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
* ใบงานเรื่อง สมบัติการนำไฟฟ้าและไม่นำไฟฟ้าไปใช้ในชีวิตประจำวัน
* หนังสือเรียน (ทำแบบฝึกหัด)
ASSESSMENT (การวัดและประเมินผล):
1. ให้นักเรียนเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียน  ในประเด็นต่อไปนี้
    -สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร
    -นักเรียนเข้าใจเรื่องใดมากที่สุด      
2. ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนดังนี้ 
     -สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทำงาน
    -สังเกตการตอบคำถามของนักเรียนในชั้นเรียน 

NOTES:


...............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................
                                                                                                                               ลงชื่อ.......................................................ผู้สอน
                                                                                                                                             ( นางสาวมาศฤดี     พูลเพิ่ม)
ข้อเสนอแนะ :

......................................................................................................................................

......................................................................................................................................

                                                                                                                              ลงชื่อ......................................................

                                                                                                                                    (นางสาวกัญฐณัฎ      ฉลอง)

                                                                                                                           ผู้อำนวยการโรงเรียนบางพลีพัฒนศึกษาลัย


SUBJECT:              วิทยาศาสตร์
GRADE:                 ประถมศึกษาปีที่ 5
TEACHER:             นางสาวมาศฤดี  พูลเพิ่ม
TERM X / WK 00X / 00 HR(S) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 สัปดาห์ที่ 10 

GENERAL TOPIC (สาระสำคัญ):
     ผู้ เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ การนำสมบัติทางด้านความหนาแน่นของวัสดุ ไปใช้ประโยชน์
EDUCATIONAL STANDARD (มาตรฐาน):
      มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้  และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
PERFORMANCE INDICATOR(S) (ตัวชี้วัด):
      มฐ.3.1 ป.5/1 ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิดต่างๆ เกี่ยวกับความยืดหยุ่น 
               ความแข็ง  ความเหนียว การนำความร้อน  การนำไฟฟ้า และความหนาแน่น      
      มฐ.3.1 ป.5/2 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการนำวัสดุไปใช้ในชีวิตประจำวัน
OBJECTIVES (จุดประสงค์การเรียนรู้):
1. บอกความหมายของความหนาแน่นของวัสดุได้ (K)
2. คำนวณหาความหนาแน่นของวัสดุได้(P)
3. เป็นคนช่างสังเกต  ช่างคิดช่างสงสัย  และเป็นผู้ที่มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาความรู้ (A)
LESSON CONTENT (สาระการเรียนรู้):
ความหนาแน่นของวัสดุ  หมายถึง  อัตราส่วนระหว่างมวลต่อหนึ่งหน่วยปริมาตรของวัสดุนั้น  โดยความ
                                                       หนาแน่นมากกว่าจะมีน้ำหนักมากกว่าเมื่อเปรียบเทียบในปริมาตรเท่ากัน
สูตรหาความหนาแน่น         
                                ความหนาแน่น (g/cm3)         =              มวล(g) ปริมาตร (cm3)

ACTIVITIES (กิจกรรม):
1.ครูทบทวนความรู้เรื่องสมบัติของวัสดุในด้านต่าง ๆ
2. ครูให้สร้างและเขียนสถานการณ์เพื่อแสดงการหาความหนาแน่นของวัสดุ เป็นการบูรณาการ
    กับกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และภาษาไทย
3.ให้นักเรียนวิเคราะห์และบอกความหมายของความหนาแน่นของวัสดุได้
4. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้
5.ครูตั้งคำถามให้นักเรียนตอบว่า นักเรียนจะนำความรู้เรื่องความหนาแน่นของวัสดุได้
   แตกต่างกันไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร
6.ทำแบบฝึกหัด เรื่อง การนำสมบัติทางด้านความหนาแน่นของวัสดุ ไปใช้ประโยชน์
   - ทำแบบฝึกหัดในหนังสือ
   - ทำการบ้านในสมุด (คำนวณหาความหนาแน่นของวัสดุที่ครูกำหนดให้)



RESOURCES & MATERIALS (สื่อและอุปกรณ์):
* แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
* หนังสือเรียน (ทำแบบฝึกหัด)
ASSESSMENT (การวัดและประเมินผล):
1. ให้นักเรียนเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียน  ในประเด็นต่อไปนี้
    -สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร
    -นักเรียนเข้าใจเรื่องใดมากที่สุด      
2. ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนดังนี้ 
     -สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทำงาน
    -สังเกตการตอบคำถามของนักเรียนในชั้นเรียน 

NOTES:

...............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................
                                                                                                                              ลงชื่อ.......................................................ผู้สอน
                                                                                                                                          ( นางสาวมาศฤดี     พูลเพิ่ม)
ข้อเสนอแนะ :

......................................................................................................................................
......................................................................................................................................

                                                                                                                              ลงชื่อ......................................................

                                                                                                                                    (นางสาวกัญฐณัฎ      ฉลอง)